วันพุธที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล

 2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายใน จะทำให้ตำบลทราบถึงความสามารถหรือความเป็นตัวตนของตำบล

            (1) จุดอ่อนคือ ลักษณะหรือข้อด้อยของตำบลเมื่อเทียบกับตำบลอื่น         

1.1) ขาดประสิทธิภาพการจัดการผลผลิตและการแปรรูป
1.2) ประชาชนบางส่วนยังไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง
1.3) ไม่มีตลาดกลาง รองรับผลผลิตทางการเกษตร
1.4) ขาดระบบน้ำประปา
1.5) ขาดสถานศึกษาในระดับปริญญาตรี
1.6) ความไม่ต่อเนื่องของผู้นำท้องที่/ผู้นำท้องถิ่น
1.7) ประชาชนขาดความรู้ในการจัดการขยะ
1.8) ขาดแคลนแหล่งน้ำเพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภคในช่วงฤดูร้อน

            (2) จุดแข็งคือ ศักยภาพความสามารถหรือข้อเด่นของตำบลเมื่อเทียบกับตำบลอื่น              

          2.1) มีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย
          2.2) มีเส้นทางคมนาคมที่สะดวก

    2.3) มีสถานที่ราชการเพื่อให้บริการประชาชนในพื้นที่
2.4) มีกองกำลังรักษาความสงบในพื้นที่
2.5) ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
2.6) มีสถานศึกษา ทั้งด้านศาสนาและสามัญ
2.7) ผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งและมีอิสระในการพัฒนาท้องถิ่น
2.8) การบริการประชาชนทำได้รวดเร็ว ประหยัด
2.9) ประชาชนรักความสงบ อยู่อย่างเอื้ออาทรและเพียงพอ
2.10) มีตลาดนัดซึ่งเป็นศูนย์รวมซื้อ-ขายสินค้าของตำบล
2.11) พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม
2.12) มีพื้นที่ติดชายแดนประเทศมาเลเซีย
     

 

 

 

 

 

 

 

2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก หรือสภาพแวดล้อมภายนอก จะทำให้ตำบลทราบถึงโอกาสและอุปสรรคการทำงานของตำบล

      (1) โอกาส

          1.1) รัฐบาลมีนโยบายในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้
1.2) เป็นตำบลที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน สะดวกแก่การทำการค้าชายแดน
1.3) มีนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียเข้ามาอย่างต่อเนื่อง
1.4) การประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ด้วยกันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1.5) มีทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการผลิตสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์
1.6) พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ.2542 กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบบริการ
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น โดยมีหน่วยงานราชการส่วนกลาง ส่วน
ภูมิภาค ส่งเสริมและสนับสนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(2) อุปสรรค
        
1) เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ส่งผลทำให้นักลงทุนจากภายนอกขาดความเชื่อมั่นในการลงทุนใน
พื้นที่
         2) ขาดตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตร
         3) ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เยาวชนขาดจริยธรรม
         4) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ


2.3โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบูรณาการวางแผนงาน (CIA)



     

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


2.๔ ทิศทางการพัฒนา

ทิศทางการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

-          บุกเบิก สร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาทางคมนาคม สะพาน ระบบระบายน้ำ สร้างปรับปรุงแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค

-          จัดทำผังเมือง ผังตำบล และพัฒนาระบบจราจร

-          จัดให้มีไฟฟ้าและระบบโทรคมนาคมอย่างทั่วถึง

ทิศทางการพัฒนาด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต

-          ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างงานสร้างอาชีพแบบยั่งยืนให้กับประชาชนในท้องถิ่น

-          ส่งเสริมงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการชุมชนแก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม

-          ส่งเสริมการศึกษาทั้งในนอกระบบตามอัธยาศัยโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

-          ส่งเสริมศักยภาพศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด

-          ส่งเสริมการออกกำลังกาย กีฬา และนันทนาการ

-          ส่งเสริมการป้องกัน รักษา ควบคุมโรค ตลอดจนการพัฒนาด้านการสาธารณสุข

-          ส่งเสริมสนับสนุนการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ทิศทางการพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชน / สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย

-          ส่งเสริมให้ความรู้ เข้าใจ แก่ประชาชนเกี่ยวกับระบบประชาธิปไตย

-          พัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตลอดจนการรักษาความสงบ

-          เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในที่มีส่วนร่วมในการรักษาความสงบเรียบร้อยในท้องถิ่น

-          ส่งเสริมให้ผู้นำศาสนาเข้ามามีบทบาทเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแก้ปัญหาความมั่นคง

ทิศทางการพัฒนาด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุนพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว

-          ส่งเสริมการตลาดการค้าการลงทุนในท้องถิ่นเมืองชายแดนเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

-          ส่งเสริมระบบเศรฐกิจชุมชนและผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น

-          ส่งเสริมในประชาชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและส่งเสริมโครงการตามแนวพระราดำริ

-          พัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

ทิศทางการพัฒนาด้านการบริหารจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

-          อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

-          ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนมีจิตสำนึกการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

-          ปรับปรุงภูมิทัศน์ในชุมชนและเมือง

-          จัดทำระบบกำจัดขยะสิ่งปฏิกูลและระบบบำบัดน้ำเสีย

ทิศทางการพัฒนาด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

-          ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟื้นฟูสืบทอดจารีตประเพณีศิลปวัฒนธรรม

-          ส่งเสริมสนับสนุนภูมิปัญญาท้องถิ่นปูชนียบุคคล

-          เสริมสร้างและทำนุบำรุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม

-          ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์โบราณวัตถุและโบราณสถาน

-          ส่งเสริมสับสนุนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเด็กเยาวชนและประชาชน

ทิศทางการพัฒนาด้านการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

-          พัฒนาความรู้ความสามารถและคุณธรรมจริยธรรมแก่บุคลากรในองค์กร

-          พัฒนาปรับปรุงจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ตลอดจนสถานที่ในการปฏิบัติงาน

-          พัฒนาปรับปรุงระบบบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล

-          ปรับปรุงและสร้างระบบการให้บริการที่ทันสมัยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

-          ส่งเสริมและสร้างทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานเพื่อการบริการประชาชนพัฒนาส่งเสริมระบบการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การดำเนินงานขององค์กรเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

ทิศทางการพัฒนาด้านการป้องกันยาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันปัญหายาเสพติด

-          การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

-          การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ

ทิศทางการพัฒนาด้านการปราบปรามยาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศ

ทิศทางการพัฒนาด้านการบำบัดรักษายาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติดยาเสพติด

-          ยุทธศาสตร์การสร้างและพัฒนาระบบรองรับการคืนคนดีให้สังคม

 

 ๒. ๕ กลยุทธ์หรือวิธีปฏิบัติเพื่อไปสู่ทิศทาง/เป้าหมายของการพัฒนา

๑. ระบบโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบจราจร ตั้งตำบลได้มาตรฐาน

๒. ประชาชนมีอาชีพ รายได้ที่มั่นคงและยั่งยืน บริการด้านสวัสดิการสังคม กีฬา นันทนาการ การศึกษา และการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง การปฏิบัติงานของศูนย์ปฏิบัติการการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดของตำบลมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

๓. ประชาชนมีส่วนร่วมตามระบอบประชาธิปไตย มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีประสิทธิภาพ

๔. การส่งเสริมการค้า การลงทุน ผลิตภัณฑ์ชุมชน การท่องเที่ยวในท้องถิ่นอย่างมั่นคงและยั่งยืนสู่ประชาคมอาเซียน

๕. ระบบการจัดการขยะ น้ำเสีย สิ่งปฏิกูล ตลอดทั้งอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงานอย่างยั่งยืน

6. ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษ์ ฟื้นฟูสืบสานจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ คงอยู่สืบไป

๗. การบริหารจัดการขององค์กรดำเนินการตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพและตอบสนองความต้องการของประชาชน

8. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการจัดการตนเองให้มีความปลอดภัยสงบเรียบร้อย และความมั่นคงในพื้นที่ ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด

การวิเคราะห์ปัญหาของตำบล

ลำดับ

หมู่ที่

ปัญหาและความต้องการ

สาเหตุของปัญหา

แนวทางการแก้ไข

1

1

เยาวชนขาดจิตสำนึกสาธารณะ

ไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม

จัดกิจกรรมประจำปีในหมู่บ้านโดยเน้นกลุ่มเยาวชน รวมถึงเด็กในวัยเรียน

2

ยาเสพติด

เยาวชนติดยาเสพติด

จัดอบรม,รณรงค์ให้คนในพื้นที่ให้ตระหนักในพิษภัยของยาเสพติด

3

ขยายร้านจำหน่ายอาหารวันศุกร์

การก่อสร้างมัสยิดในชุมชนยังไม่แล้วเสร็จ

ปรับปรุงสถานที่และขยายตลาดให้กว้างจากในชุมชนเป็นชุมชนใกล้เคียง

4

ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค

บ่อบาดาลตื้นเขิน ไม่มีประปาใช้ ขาดแหล่งกักเก็บน้ำถาวร

ขุดเจาะบ่อบาดาล และสร้างประปาในชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเก็บน้ำ

5

ปัญหาด้านรายได้ไม่เพียงพอ

ราคายางพาราตกต่ำ

ส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมรายได้ในครัวเรือน

2

1

ปัญหาด้านรายได้ไม่เพียงพอ

ราคายางพาราตกต่ำ

ส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมรายได้ในครัวเรือน

2

ราคาผลผลิตตกต่ำ

ขาดความรู้การทำเกษตรแบบผสม

ส่งเสริมทำสวนผสมพสาน อย่างจริงจัง

3

ปัญหาด้านรายได้ไม่เพียงพอ

ราคายางพาราตกต่ำ

ส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมรายได้ในครัวเรือน

4

ปัญหาด้านรายได้ไม่เพียงพอ

ราคายางพาราตกต่ำ

ส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมรายได้ในครัวเรือน

5

ปัญหาด้านสุขภาพ

ประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจสุขภาพประจำปี

กำหนดให้ กม. ด้านสาธารณสุข และ อสม. เข้าด่วนคัดกรองสุขภาพเป็นประจำทุกเดือน

1

ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค

บ่อบาดาลตื้นเขิน ขาดแหล่งกักเก็บน้ำถาวร

ขุดเจาะบ่อบาดาลเดิม และสร้างแหล่งเก็บน้ำ

2

ปัญหาขยะมูลฝอย

ไม่มีการบริหารจัดการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องและเหมาะสม

จัดอบรม,รณรงค์ให้คนในพื้นที่ในเรื่องการกำจัดขยะ

3

ซ่อมแซมและปรับปรุงรั้วโรงเรียนตาดีกา

โรงเรียนตาดีกามีรั้วตาดีกาที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ

สนับสนุบงบประมาณในการปรับปรุงรั้วเพื่อส่งเสริมขวัญ กำลังใจแก่เด็กนักเรียนตาดีกาในชุมชน

4

เยาวชนขาดจิตสำนึกสาธารณะ

ไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม

จัดกิจกรรมประจำปีในหมู่บ้านโดยเน้นกลุ่มเยาวชน รวมถึงเด็กในวัยเรียน

5

เยาวชนขาดจิตสำนึกสาธารณะ

ไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม

จัดกิจกรรมประจำปีในหมู่บ้านโดยเน้นกลุ่มเยาวชน รวมถึงเด็กในวัยเรียน

1

ปัญหาขยะมูลฝอย

ไม่มีการบริหารจัดการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องและเหมาะสม

จัดอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการคัดแยกขยะให้กับคนในหมู่บ้านให้มีการจัดกิจกรรมแข่งขันในแต่ละคุ้มบ้าน

2

ปัญหาด้านสุขภาพ

ประชาชนยังขาดความสำนึกเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

กำหนดให้ กม. ด้านสาธารณสุข และ อสม. เข้าด่วนคัดกรองสุขภาพเป็นประจำทุกเดือน

3

ปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค

บ่อบาดาลตื้นเขิน ขาดแหล่งกักเก็บน้ำถาวร

ขุดเจาะบ่อบาดาลเดิม และสร้างแหล่งเก็บน้ำ

4

ปัญหาด้านสุขภาพ

ประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจสุขภาพประจำปี

กำหนดให้ กม. ด้านสาธารณสุข และ อสม. เข้าด่วนคัดกรองสุขภาพเป็นประจำทุกเดือน

5

ปัญหาขยะมูลฝอย

ไม่มีการบริหารจัดการคัดแยกขยะอย่างถูกต้องและเหมาะสม

จัดอบรมให้ความรู้การบริหารจัดการคัดแยกขยะให้กับคนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมแข่งขันในแต่ละคุ้ม

1

ปัญหาด้านสุขภาพ

ประชาชนส่วนใหญ่ไม่มีการตรวจสุขภาพประจำปี

กำหนดให้ กม. ด้านสาธารณสุขและ อสม. เข้าตรวจคัดกรองสุขภาพเป็นประจำทุกเดือน

2

เยาวชนขาดจิตสำนึกสาธารณะ

ไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม

จัดกิจกรรมประจำปีในหมู่บ้านโดยเน้นกลุ่มเยาวชน รวมถึงเด็กในวัยเรียน

3

เยาวชนขาดจิตสำนึกสาธารณะ

ไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เยาวชนมีส่วนร่วม

จัดกิจกรรมประจำปีในหมู่บ้านโดยเน้นกลุ่มเยาวชน รวมถึงเด็กในวัยเรียน

4

ลานกีฬาภายในชุมชน

ไม่มีลานกีฬาที่สมบูรณ์ให้เด็กและเยาวชนไม่  สามารถเล่นกีฬาได้เต็มที่

สนับสนุนงบประมาณในการสร้างลานกีฬาในชุมชน

2

ปัญหาที่ดินทำกินอย่างต่อเนื่อง

สภาพภูมิประเทศมีน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน

ปรับหน้าดิน และมีโครงการให้ความรู้แก่เกษตรกร

3

ลานกีฬาในชุมชน

ไม่มีลานกีฬาที่สมบูรณ์ เด็กและเยาวชนไม่สามารถเล่นกีฬาได้เต็มที่

สนับสนุนงบประมาณในการสร้างลานกีฬาในชุมชน

2

ประชาชนบางกลุ่มยังขาดอาชีพที่มั่นคง

เศรษฐกิจตกต่ำ

ส่งเสริมอาชีพที่มั่นคง

3

เยาวชนติดยาเสพติด

เยาวชนไม่มีความรู้ถึงโทษภัยของยาเสพติด

อบรม เสริมสร้างความรู้ให้เยาวชนได้ตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของตำบล

1.แผนที่ตำบล   2. ประวัติความเป็นมาของตำบล           ตำบลมูโนะ เป็นตำบลหนึ่งของอำ...